พระราชบัญญัติงาช้าง พ.ศ. ๒๕๕๘
เพื่อให้เป็นไปตามกฏหมายดังกล่าว สมาชิกทุกท่านต้องอ่านทำความเข้าใจและปฏิบัติตามอย่างเคร่งคัด
พระพุทธชินราช พ...
พระพุทธชินราช พิธีเสาร์ ๕ ปี ๒๔๙๖
เหรียญปั๊มพระพุทธชินราช รุ่น ‘พานพระศรี’ พ.ศ. ๒๔๙๖ วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ จังหวัดพิษณุโลก เนื้อทองผสม สภาพผิวหิ้ง
ขนาดโดยประมาณ กว้าง 1.5 ซ.ม. สูง 2.8 ซ.ม.
ลักษณะของเหรียญปั๊มพระพุทธชินราช รุ่นพานพระศรี หรือที่เรียกกันว่า เหรียญปั๊มพระพุทธชินราช รุ่นเสาร์ ๕ เป็นเหรียญปั๊มรูปจำลองพระพุทธชินราช
ด้านหน้า เป็นรูปจำลองพระพุทธชินราชปางมารวิชัย ประทับบนอาสนะฐานบัวสองชั้น
ด้านหลัง ด้านบนเป็นอกเลา ซึ่งปรากฏอยู่ตรงประตูเข้าพระวิหารพระพุทธชินราช วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ ล่างลงมาเป็นรูปพานพุ่มบรรจุตัวอุณาโลม
พานพระศรี เป็นตราประจำวัดพระศรีรัตนมหาธาตุ จังหวัดพิษณุโลก
ได้ประกอบพิธีพุทธาภิเษก ในวันเสาร์ ๕ ซึ่งถือกันว่า เป็นวันฤกษ์ดียิ่ง สำหรับการปลุกเสกวัตถุมงคล พิธีจัดขึ้นในพระวิหารพระพุทธชินราช จังหวัดพิษณุโลก

รายนามพระเกจิอาจารย์ในยุคสมัยนั้นที่เข้าร่วมในพิธีพุทธาภิเษก ดังนี้.-

๑. พระราชโมลี (นาค) วัดระฆัง กรุงเทพมหานคร
๒. พระศากยุตติวงศ์ วัดอรุณราชวราราม กรุงเทพมหานคร
๓. พระวิเชียรปัญญามุนี วัดท่าถนน จังหวัดอุตรดิตถ์
๔. พระครูสังฆพิชิต วัดเกาะสุวรรณาราม กรุงเทพมหานคร
๕. พระครูสังวุฒคณี วัดมหาธาตุ จังหวัดเพชรบูรณ์
๖. พระครูพินิจสมณคุณ วัดนิยมยาตรา จังหวัดสมุทรปราการ
๗. พระครูรักขิตวันมุนี (ถิร) วัดป่าเลไลยก์ จังหวัดสุพรรณบุรี
๘. พระครูญาณอุดม วัดบุพพาราม จังหวัดอุตรดิตถ์
๙. พระครูวิริยกิตติ (โต๊ะ) วัดประดู่ฉิมพลี กรุงเทพมหานคร
๑๐. พระครุพิบูลย์สุนทร วัดสะพานหิน จังหวัดพิจิตร
๑๑. พระครูพิพิฒน์ธรรมโกศล วัดมงคลทับคร้อ จังหวัดพิจิตร
๑๒. พระครูสุนทรสังฆกิจ (ลา) วัดแก่งคอย จังหวัดสระบุรี
๑๓. พระครูนอ วัดกลาง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
๑๔. พระครูเสือ วัดมงคลนิมิตร์ จังหวัดสมุทรปราการ
๑๕. พระครูวินัยธร (จันทร์) วัดคลองระหง จังหวัดนครสวรรค์
๑๖. พระอาจารย์มหาสุวรรณ วัดทินกรนิมิตร์ จังหวัดนนทบุรี
๑๗. พระปลัดเจริญ วัดตะพานหิน จังหวัดพิจิตร
๑๘. พระอาจารย์สิน วัดเทพราช จังหวัดฉะเชิงเทรา
๑๙. พระอุปัชฌาย์ไซ้ วัดช่องลม จังหวัดอุตรดิตถ์
๒๐. พระอุปัชฌาย์เกตุ วัดหัวช้าง จังหวัดลพบุรี
๒๑. พระอาจารย์จันทร์ วัดบ้านคอย จังหวัดลพบุรี
๒๒. พระอาจารย์ประดิษฐ์ วัดอรุณราชวราราม กรุงเทพมหานคร
๒๓. พระอาจารย์คำมี วัดถ้ำคูหาสวรรค์ จังหวัดลพบุรี
๒๔. พระอาจารย์สมบัติ วัดไตรมิตรวิทยาราม กรุงเทพมหานคร
๒๕. พระอาจารย์สำเภา วัดป่าหวายทุ่ง จังหวัดลพบุรี
๒๖. พระอาจารย์อ้อน วัดหนองโพธิ์ จังหวัดนครสวรรค์
๒๗. พระอาจารย์เอี้ยง วัดป่าหวาย จังหวัดลพบุรี
๒๘. พระอาจารย์ทองอยู่ วัดเทวประสาท จังหวัดพิจิตร
๒๙. พระอาจารย์สิงห์โต วัดสกัดน้ำมัน จังหวัดพิษณุโลก
๓๐. พระอาจารย์ฟื้น วัดจันทร์ตะวันออก จังหวัดพิษณุโลก
๓๑. พระอาจารย์ไส้ วัดศรีรัตนาราม จังหวัดพิษณุโลก

ส่วนพระเกจิอาจารย์อีก ๔ รูป ซึ่งได้รับนิมนต์มาจากวัดสระเกษราชวรวิหาร กรุงเทพมหานคร เพื่อสวดพุทธาภิเษก ประกอบด้วย

๑. พระอาจารย์บัว
๒. พระอาจารย์ชำนาญ
๓. พระอาจารย์พร
๔. พระอาจารย์หนู

อย่างไรก็ตาม เมื่อได้ดำเนินการพุทธาภิเษกเป็นที่เรียบร้อยแล้วนั้น ทางวัดได้เก็บเหรียญไว้จนในปี พ.ศ. ๒๔๙๘ จึงได้นำออกมาให้ประชาชนได้บูชากัน

ขณะที่ทางวัดเก็บรักษาไว้นั้น ยังได้นำเข้าพิธีปลุกเสกอีกถึง ๒ ครั้ง คือ ในปี พ.ศ. ๒๔๙๗ และในปี พ.ศ. ๒๔๙๘.
ผู้เข้าชม
124 ครั้ง
ราคา
1450
สถานะ
ยังอยู่
โดย
ชื่อร้าน
วาสนา พระเครื่อง
ร้านค้า
โทรศัพท์
ไอดีไลน์
0894611699
บัญชีธนาคารยืนยันตัวตน
1. ธนาคารไทยพาณิชย์ / 845-2-12340-2

ผู้เข้าใช้งานล่าสุด
apirukภูมิ IRเจริญสุขErawanPutanarintonกู่ทอง
ชา พูนสินTotoTatoโก้ สมุทรปราการsomphopstp253ep8600
hoppermankaew กจ.mon37kumphaพีพีพระเครื่องvanglanna
Leksoi8somemanchaithawatเปียโนปลั๊ก ปทุมธานีเทพจิระ
ทิน ธรรมยุตjochoโกหมูNiti3303มัญจาคีรี udBeerchang พระเครื่อง

ผู้เข้าชมขณะนี้ 914 คน

เพิ่มข้อมูล

พระพุทธชินราช พิธีเสาร์ ๕ ปี ๒๔๙๖




  ส่งข้อความ



ชื่อพระเครื่อง
พระพุทธชินราช พิธีเสาร์ ๕ ปี ๒๔๙๖
รายละเอียด
เหรียญปั๊มพระพุทธชินราช รุ่น ‘พานพระศรี’ พ.ศ. ๒๔๙๖ วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ จังหวัดพิษณุโลก เนื้อทองผสม สภาพผิวหิ้ง
ขนาดโดยประมาณ กว้าง 1.5 ซ.ม. สูง 2.8 ซ.ม.
ลักษณะของเหรียญปั๊มพระพุทธชินราช รุ่นพานพระศรี หรือที่เรียกกันว่า เหรียญปั๊มพระพุทธชินราช รุ่นเสาร์ ๕ เป็นเหรียญปั๊มรูปจำลองพระพุทธชินราช
ด้านหน้า เป็นรูปจำลองพระพุทธชินราชปางมารวิชัย ประทับบนอาสนะฐานบัวสองชั้น
ด้านหลัง ด้านบนเป็นอกเลา ซึ่งปรากฏอยู่ตรงประตูเข้าพระวิหารพระพุทธชินราช วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ ล่างลงมาเป็นรูปพานพุ่มบรรจุตัวอุณาโลม
พานพระศรี เป็นตราประจำวัดพระศรีรัตนมหาธาตุ จังหวัดพิษณุโลก
ได้ประกอบพิธีพุทธาภิเษก ในวันเสาร์ ๕ ซึ่งถือกันว่า เป็นวันฤกษ์ดียิ่ง สำหรับการปลุกเสกวัตถุมงคล พิธีจัดขึ้นในพระวิหารพระพุทธชินราช จังหวัดพิษณุโลก

รายนามพระเกจิอาจารย์ในยุคสมัยนั้นที่เข้าร่วมในพิธีพุทธาภิเษก ดังนี้.-

๑. พระราชโมลี (นาค) วัดระฆัง กรุงเทพมหานคร
๒. พระศากยุตติวงศ์ วัดอรุณราชวราราม กรุงเทพมหานคร
๓. พระวิเชียรปัญญามุนี วัดท่าถนน จังหวัดอุตรดิตถ์
๔. พระครูสังฆพิชิต วัดเกาะสุวรรณาราม กรุงเทพมหานคร
๕. พระครูสังวุฒคณี วัดมหาธาตุ จังหวัดเพชรบูรณ์
๖. พระครูพินิจสมณคุณ วัดนิยมยาตรา จังหวัดสมุทรปราการ
๗. พระครูรักขิตวันมุนี (ถิร) วัดป่าเลไลยก์ จังหวัดสุพรรณบุรี
๘. พระครูญาณอุดม วัดบุพพาราม จังหวัดอุตรดิตถ์
๙. พระครูวิริยกิตติ (โต๊ะ) วัดประดู่ฉิมพลี กรุงเทพมหานคร
๑๐. พระครุพิบูลย์สุนทร วัดสะพานหิน จังหวัดพิจิตร
๑๑. พระครูพิพิฒน์ธรรมโกศล วัดมงคลทับคร้อ จังหวัดพิจิตร
๑๒. พระครูสุนทรสังฆกิจ (ลา) วัดแก่งคอย จังหวัดสระบุรี
๑๓. พระครูนอ วัดกลาง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
๑๔. พระครูเสือ วัดมงคลนิมิตร์ จังหวัดสมุทรปราการ
๑๕. พระครูวินัยธร (จันทร์) วัดคลองระหง จังหวัดนครสวรรค์
๑๖. พระอาจารย์มหาสุวรรณ วัดทินกรนิมิตร์ จังหวัดนนทบุรี
๑๗. พระปลัดเจริญ วัดตะพานหิน จังหวัดพิจิตร
๑๘. พระอาจารย์สิน วัดเทพราช จังหวัดฉะเชิงเทรา
๑๙. พระอุปัชฌาย์ไซ้ วัดช่องลม จังหวัดอุตรดิตถ์
๒๐. พระอุปัชฌาย์เกตุ วัดหัวช้าง จังหวัดลพบุรี
๒๑. พระอาจารย์จันทร์ วัดบ้านคอย จังหวัดลพบุรี
๒๒. พระอาจารย์ประดิษฐ์ วัดอรุณราชวราราม กรุงเทพมหานคร
๒๓. พระอาจารย์คำมี วัดถ้ำคูหาสวรรค์ จังหวัดลพบุรี
๒๔. พระอาจารย์สมบัติ วัดไตรมิตรวิทยาราม กรุงเทพมหานคร
๒๕. พระอาจารย์สำเภา วัดป่าหวายทุ่ง จังหวัดลพบุรี
๒๖. พระอาจารย์อ้อน วัดหนองโพธิ์ จังหวัดนครสวรรค์
๒๗. พระอาจารย์เอี้ยง วัดป่าหวาย จังหวัดลพบุรี
๒๘. พระอาจารย์ทองอยู่ วัดเทวประสาท จังหวัดพิจิตร
๒๙. พระอาจารย์สิงห์โต วัดสกัดน้ำมัน จังหวัดพิษณุโลก
๓๐. พระอาจารย์ฟื้น วัดจันทร์ตะวันออก จังหวัดพิษณุโลก
๓๑. พระอาจารย์ไส้ วัดศรีรัตนาราม จังหวัดพิษณุโลก

ส่วนพระเกจิอาจารย์อีก ๔ รูป ซึ่งได้รับนิมนต์มาจากวัดสระเกษราชวรวิหาร กรุงเทพมหานคร เพื่อสวดพุทธาภิเษก ประกอบด้วย

๑. พระอาจารย์บัว
๒. พระอาจารย์ชำนาญ
๓. พระอาจารย์พร
๔. พระอาจารย์หนู

อย่างไรก็ตาม เมื่อได้ดำเนินการพุทธาภิเษกเป็นที่เรียบร้อยแล้วนั้น ทางวัดได้เก็บเหรียญไว้จนในปี พ.ศ. ๒๔๙๘ จึงได้นำออกมาให้ประชาชนได้บูชากัน

ขณะที่ทางวัดเก็บรักษาไว้นั้น ยังได้นำเข้าพิธีปลุกเสกอีกถึง ๒ ครั้ง คือ ในปี พ.ศ. ๒๔๙๗ และในปี พ.ศ. ๒๔๙๘.
ราคาปัจจุบัน
1450
จำนวนผู้เข้าชม
125 ครั้ง
สถานะ
ยังอยู่
โดย
ชื่อร้าน
วาสนา พระเครื่อง
URL
เบอร์โทรศัพท์
0894611699
ID LINE
0894611699
บัญชีธนาคารยืนยันตัวตน
2. ธนาคารไทยพาณิชย์ / 845-2-12340-2




กำลังโหลดข้อมูล

หน้าแรกลงพระฟรี